ความแตกต่างระหว่าง แรงงานต่างด้าว MOU และ แรงงานต่างด้าวบัตรชมพู

ความแตกต่างระหว่าง แรงงานต่างด้าว MOU และ แรงงานต่างด้าวบัตรชมพู

 

ความแตกต่างระหว่าง แรงงานต่างด้าว MOU และ แรงงานต่างด้าวบัตรชมพู

 

รงงานต่างด้าว MOU

คือ แรงงานที่เข้ามาทำงานในประเทศไทยแบบถูกกฎหมาย ตามเอกสาร หรือหนังสือที่มีการบันทึก ข้อตกลง (Memorandum of Understanding หรือ MOU) ซึ่งแรงงานต่างด้าวสัญชาติ ลาว กัมพูชา เมียนมาร์ และเวียดนาม เป็นแรงงานภายใต้ข้อตกลงร่วมกันระหว่างรัฐบาลไทยและประเทศต้นทางทั้ง 4 นายจ้างจะต้องยื่นคำขอ แรงงานต่างด้าว โดยระบุคุณสมบัติของแรงงานได้ ไม่ว่าจะเป็น เพศ จำนวนแรงงาน หรือ ทักษะในการทำงาน

 

รงงานต่างด้าว บัตรชมพู

คือ แรงงานที่ได้รับการผ่อนผัน ให้อาศัยอยู่ในประเทศไทย และมีใบอนุญาตทำงาน​ (บัตรชมพู) ทั้งนี้เมื่อใบอนุญาตหมดอายุ แล้วไม่ได้ดำเนินการต่ออายุ แรงงานต่างด้าวจะต้อง เดินทางกลับประเทศของตน โดยการต่ออายุเป็นการทำ MOU กรณีพิเศษ คือ แรงงานต่างด้าวสามารถทำ MOU
ในประเทศไทยได้เลย ไม่ต้ออองเสียเวลาเดินทางกลับประเทศต้นทาง

RE-MOU สัญชาติพม่า

RE-MOU สัญชาติพม่า

RE-MOU สัญชาติพม่า

ปรับสถานะแรงงานต่างด้าวให้ถูกกฎหมาย

 

เอกสารสำคัญที่ต้องใช้สำหรับยื่นปรับสถานะแรงงาน

สำหรับนายจ้าง

บุคคลธรรมดา

  • สำเนาบัตรประชาชน
  • สำเนาทะเบียนบ้าน
  • รูปถ่ายกิจการ 3 รูป
  • แผนที่ตั้ง

นิติบุคคล

  • หนังสือรับรองบริษัท (อายุไม่เกิน 3 เดือน)
  • สำเนาบัตรประชาชน (ผู้มีอำนาจลงนาม)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน (ผู้มีอำนาจลงนาม)
  • แผนที่ตั้งกิจการ

กรณีไม่ใช่เจ้าของบ้าน

  • สำเนาบัตรประชาชน (เจ้าบ้าน)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน (เจ้าบ้าน)
  • หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่

กรณีเช่าสถานที่

  • สัญญาเช่า
  • สำเนาบัตรประชาชน (ผู้ให้เช่า)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน (ผู้ให้เช่า)
  • แผนที่

กรณีรับเหมาก่อสร้าง

  • สำเนาบัตรประชาชนคู่สัญญา (ผู้ว่าจ้าง)
  • สำเนาทะเบียนบ้านคู่สัญญา (ผู้ว่าจ้าง)
  • สำเนาสัญญาว่าจ้างรับเหมาก่อสร้าง (อายุไม่ต่ำกว่า 2 ปี)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน หรือ โฉนดที่ดิน สถานที่ก่อสร้างในสัญญา
  • แผนที่สถานที่ก่อสร้าง

กรณีเป็นกิจการอื่นๆ
ต้องมีเอกสารเพิ่มเติม เช่น สัญญาเช่าแผง,ทะเบียนการค้า เป็นต้น

  • ค้าขาย,แผงลอย
  • ร้านอาหาร
  • การเกษตร
  • กิจการอื่นๆ

 

สำหรับแรงงาน

  • สำเนาหนังสือเดินทาง (Passport)
  • รูปถ่าย 1.5 นิ้ว

 

แจ้งเตือนนายจ้าง แจ้งเข้าออกแรงงานต่างด้าว

แจ้งเตือนนายจ้าง แจ้งเข้าออกแรงงานต่างด้าว

 

แจ้งเตือน!! นายจ้างและสถานประกอบการ

นายจ้างและสถานประกอบการที่มีการจ้างแรงงานต่างด้าว ต้องแจ้ง เข้า-ออก ภายใน 15 วัน
นับตั้งแต่วันที่จ้างและเมื่อคนต่างด้าวออกจากงาน ให้กรมการจัดหางานทราบ
เช่น หากแรงงานต่างด้าวเข้างาน วันที่ 1 ส.ค. 2566 ต้องแจ้งเข้างานภายในวันที่ 16 ส.ค. 2566

หากฝ่าฝืนไม่ดำเนินการภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด
จะมีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท 

MOU Laos Return

MOU Laos Return

MOU Laos Return

 

 

เอกสารสำคัญที่ต้องใช้สำหรับยื่นปรับสถานะแรงงาน

สำหรับนายจ้าง

บุคคลธรรมดา

  • สำเนาบัตรประชาชน
  • สำเนาทะเบียนบ้าน 
  • รูปถ่ายกิจการ 3 รูป 
  • แผนที่ตั้ง

นิติบุคคล

  • หนังสือรับรองบริษัท (อายุไม่เกิน 3 เดือน)
  • สำเนาบัตรประชาชน (ผู้มีอำนาจลงนาม)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน (ผู้มีอำนาจลงนาม)
  • แผนที่ตั้งกิจการ

กรณีไม่ใช่เจ้าของบ้าน

  • สำเนาบัตรประชาชน (เจ้าบ้าน)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน (เจ้าบ้าน)
  • หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่

กรณีเช่าสถานที่

  • สัญญาเช่า
  • สำเนาบัตรประชาชน (ผู้ให้เช่า)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน (ผู้ให้เช่า)
  • แผนที่

กรณีรับเหมาก่อสร้าง

  • สำเนาบัตรประชาชนคู่สัญญา (ผู้ว่าจ้าง)
  • สำเนาทะเบียนบ้านคู่สัญญา (ผู้ว่าจ้าง)
  • สำเนาสัญญาว่าจ้างรับเหมาก่อสร้าง (อายุไม่ต่ำกว่า 2 ปี)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน หรือ โฉนดที่ดิน สถานที่ก่อสร้างในสัญญา
  • แผนที่สถานที่ก่อสร้าง

กรณีเป็นกิจการอื่นๆ
ต้องมีเอกสารเพิ่มเติม เช่น สัญญาเช่าแผง,ทะเบียนการค้า เป็นต้น

  • ค้าขาย,แผงลอย
  • ร้านอาหาร
  • การเกษตร
  • กิจการอื่นๆ

 

สำหรับแรงงาน

  • สำเนาหนังสือเดินทาง (Passport)
  • รูปถ่าย 1.5 นิ้ว

 

ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม 034-112568
ขยายเวลาแรงงานต่างด้าว อยู่ในราชอาณาจักรและทำงานถึง 30 ก.ย. 66

ขยายเวลาแรงงานต่างด้าว อยู่ในราชอาณาจักรและทำงานถึง 30 ก.ย. 66

ครม. เห็นชอบร่างกฎกระทรวง มท.และ รง. ขยายระยะเวลาคนต่างด้าว 4 สัญชาติ หลัง 31 ก.ค. 66 สามารถอยู่ในราชอาณาจักรและทำงานถึง 30 ก.ย. 66

 

 

มติคณะรัฐมนตรี อนุมัติ/เห็นชอบในหลักการร่างประกาศที่เกี่ยวข้อง จำนวน  2 ฉบับ ได้แก่ ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การอนุญาตให้คนต่างด้าวอยู่ในราชอาณาจักร เป็นกรณีพิเศษ สำหรับคนต่างด้าวสัญชาติกัมพูชา ลาว เมียนมา และเวียดนาม ตามมติ ครม. เมื่อวันที่  5 ก.ค. 2566 และ ร่างประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่องการอนุญาตให้คนต่างด้าวทำงานในราชอาณาจักร เป็นกรณีพิเศษ สำหรับคนต่างด้าวสัญชาติกัมพูชา ลาว เมียนมา และเวียดนาม ตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 5  ก.ค. 2566 

เมื่อนายจ้างได้ยื่นบัญชีรายชื่อความต้องการจ้างแรงงานต่างด้าวต่อกรมการจัดหางานภายในวันที่ 31  ก.ค. 2566  แล้ว ให้คนต่างด้าวสามารถอยู่ในราชอาณาจักรและทำงานต่อไปได้ ถึงวันที่ 30 กันยายน 2566 โดยเป็นมาตรการเพื่อสนับสนุนนายจ้างและสถานประกอบการสามารถจ้างคนต่างด้าว ที่มีสถานะถูกต้องตามกฎหมายทำงานต่อไป

 

 

 

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า